ประวัติศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
- ศาสนาที่มีอิทธิพลมากในอาณาจักรทวารวดีคือศาสนาใด
- ศาสนาอิสลาม
- ศาสนาพุทธหินยาน
- ศาสนาพุทธมหายาน
- ศาสนาพราหมณ์ – ฮินดู
- ข้อใดเป็นหลักฐานที่แสดงให้เห็นว่าละโว้เคยตกอยู่ภายใต้อิทธิพลของขอม
- อาวุธที่ใช้ในการสู้รบ
- เครื่องมือทางการเกษตร
- การสร้างกำแพงล้อมรอบเมือง
- เทวรูปที่เกี่ยวเนื่องกับศาสนาพราหมณ์ – ฮินดู
- หลังจากที่อาณาจักรตามพรมลิงค์เป็นอาณาจักรใหม่แล้วต่อมาได้พัฒนาขึ้นเป็นอาณาจักรใด
- อาณาจักศรีวิชัย
- อาณาจักล้านนา
- อาณาจักรสุโขทัย
- อาณาจักรนครศรีธรรมราช
- เอกสารจีนเรียกอาณาจักรหนึ่งว่า “อาณาจักรผู้หญิงปกครอง”
หมายถึงอาณาจักรใด- อาณาจักรหริภุญชัย
- อาณาจักรละโว้
- อาณาจักรโคตรบูร
- อาณาจักรล้านนา
- ข้อใดไม่ได้เป็นข้อสันนิฐานเกี่ยวกับอาณาจักรศรีวิชัย
- ศูนย์กลางของอาณาจักรคือเมืองไชยา
- ศูนย์กลางของอาณาจักรคือเมืองปาเล็มบัง
- ศูนย์กลางของอาณาจักรอยู่ที่ประเทศมาเลเซีย
- ศูนย์กลางของอาณาจักรอยู่ที่ประเทศอินโดนีเซีย
- ข้อใดเป็นสาเหตุที่ทำให้อาณาจักรศรีวิชัยเสื่อมอำนาจลง
- กษัตริย์แห่งชวาโจมตีเมือง
- ชาวต่างชาติเปลี่ยนทางเดินเรือ
- ตกเป็นเมืองขึ้นของอาณาจักรตามพรลิงค์
- เกิดน้ำท่วมใหญ่จนไม่สามารถฟื้นฟูเมืองได้
- ตำนานอุรังคธาตุกล่าวถึงสิ่งใด
- การสร้างพระธาตุพนม
- การสร้างพระบรมธาตุไชยา
- การสร้างพระธาตุหริภุญชัย
- การสร้างพระปรางค์สามยอด
- พระเจ้าพรหมมหาราชมีความสัมพันธ์กับเมืองไชยปราการอย่างไร
- เป็นเจ้าเมือง
- เป็นผู้ตีเมืองสำเร็จ
- เป็นผู้บูรณปฏิสังขรณ์เมือง
- เป็นผู้กอบกู้เอกราชของเมือง
- อาณาจักรหริภุญชัยเป็นศูนย์กลางทางพระพุทธศาสนาในภาคเหนือโดยได้รับการสนับสนุนจากอาณาจักรใด
- อาณาจักรละโว้
- อาณาจักรล้านนา
- อาณาจักรโคตรบูร
- อาณาจักรโยนกนคร
- . ข้อใดไม่ได้มีความสัมพันธ์กับอาณาจักรล้านนาไทย
- เมืองคูบัว
- พ่อขุนเม็งราย
- อักษรไทยยวน
- กฎหมายมังรายศาสตร์
- “มนุษย์เร่ร่อนเก็บหาอาหาร ล่าสัตว์ ใช้เพิงผาหรือถ้ำเป็นที่หลับนอน รู้จักเพาะปลูกและนำสัตว์ป่ามาเลี้ยง” ข้อความดังกล่าวแบ่งตามเกณฑ์ข้อใด
- แบ่งตามอาชีพ
- แบ่งตามทำเลที่ตั้ง
- แบ่งตามลักษณะการดำรงชีวิตของมนุษย์
- แบ่งตามเทคโนโลยีการทำเครื่องมือเครื่องใช้
- สุวรรณภูมิหรือดินแดนแห่งทองคำ เป็นชื่อเดิมของดินแดนใด
- เอเชียใต้
- เอเชียตะวันออก
- เอเชียตะตันตกเฉียงใต้
- เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
- ลักษณะการดำรงชีวิตของมนุษย์ในช่วงแรกๆ ตรงตามข้อใด
- ล่าสัตว์ เก็บหาของป่า
- อาศัยกันอยู่เป็นชุมชน
- เพาะปลูกพืชธัญญาหาร
- ใช้เงินตราเป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน
- บริเวณที่เหมาะสมกับการตั้งถิ่นฐานของชุมชนโบราณควรจะเป็นที่ใด
- ที่ราบสูง
- หุบเขา
- ที่ราบเชิงเขา
- ที่ราบลุ่มแม่น้ำและชายฝั่งทะเล
- การสร้างเครื่องมือเครื่องใช้ของชุมชนมนุษย์ยุคหินเก่าจะมีลักษณะตามข้อใด
- ประดิษฐ์กลองมโหระทึก
- ทำเครื่องประดับจากแก้ว
- ทำขวานกำปั้นกะเทาะหน้าเดียว
- ทำเครื่องปั้นดินเผาแบบสามขา
- การดำรงชีวิตของมนุษย์ในยุคแรกเริ่มน่าจะมีลักษณะสอดคล้องกับข้อใด
- เพาะปลูกข้าว
- ล่าสัตว์ป่าเป็นอาหาร
- ค้าขายกับชุมชนใกล้เคียง
- ทำภาชนะดินเผาไว้ใส่อาหาร
- . “มีการพบโครงกระดูกมนุษย์และสัตว์ ภาชนะดินเผาลายเขียนสีทั้งหลายเชือกทาบ ลายขูดขีดบนผิวขัดมัน เครื่องประดับทำจากลูกปัด” แสดงให้เห็นถึงพัฒนาการของชุมชนในข้อใด
- บ้านเชียง จังหวัดอุดรธานี
- บ้านเก่า จังหวัดกาญจนบุรี
- ถ้ำผีแมน จังหวัดแม่ฮ่องสอน
- บ้านดอนตาเพชร จังหวัดกาญจนบุรี
- ปัจจัยสำคัญในการพัฒนาชุมชนไปสู่การเป็นแคว้นหรืออาณาจักรคือข้อใด
- เกิดชนชั้นในสังคม
- มีการจัดระเบียบการปกครอง
- มีการติดต่อค้าข่ายกับชุมชนอื่น
- มีการรับอารยธรรมจากต่างชาติ
- เหตุผลสำคัญที่ทำให้อาณาจักรโบราณมักตั้งอยู่ริมแม่น้ำหรือชายฝั่งทะเลคืออะไร
- ประชาชนใช้เรือเป็นพาหนะ
- ป้องกันไม่ให้ข้าศึกล้อมเมือง
- สะดวกในการค้าขายและเพาะปลูก
- ฝึกฝนกองทัพทางทะเลให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
- ข้อใดกล่าวได้ถูกต้อง
- ชุมชนทุกแห่งจะต้องอยู่ริมน้ำ
- ชุมชนจะเจริญได้ต้องใช้สำริดก่อน
- ชุมชนทุกแห่งจะต้องขยายไปเป็นแคว้น
- ชุมชนแต่ละแห่งมีพัฒนาการไม่เท่ากัน
- การเลิกทาสในสมัยพระบาทสมเด็จพระเพราะเหตุใดจึงสันนิษฐานว่าศูนย์กลางของทวารวดีอยู่ที่จังหวัดนครปฐมจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวสำเร็จด้วยดี เป็นเพราะเหตุใด
- พบพระพุทธรูปปางนาคปรกสำริด
- ปรากฏเรื่องราวอยู่ในตำนานมูลศาสนา
- จดหมายเหตุจีนเรียกอาณาจักรนี้ว่า “หลอหู”
- พบเหรียญเงินที่มีคำจารึกเป็นภาษาสันสกฤต
- งานศิลปกรรมในข้อใดที่จะไม่พบในศิลปะทวารวดี
- พระปรางค์สามยอด
- พระพุทธรูปศิลาขาว
- จุลประโทณเจดีย์
- ธรรมจักรศิลาและกวางหมอบ
- รากฐานของวัฒนธรรมละโว้มาจากที่ใด
- จีน
- อินเดีย
- สร้างขึ้นเอง
- ทวารวดีและขอม
- ผลงานของอาณาจักรใดที่ทำให้พระพุทธศาสนาหยั่งรากลึกในดินแดนไทยมาจนถึงปัจจุบัน
- ละโว้
- หริภุญชัย
- นครศรีธรรมราช
- โคตรบูรณ์
- เรื่องราวของพระนางจามเทวีมีความเกี่ยวข้องกับอาณาจักรในข้อใด
- ล้านนา
- หริภุญชัย
- ทวารวดี
- ลังกาสุกะ
- . เพราะเหตุใดอาณาจักรโยนกเชียงแสนจึงต้องย้ายศูนย์กลางการปกครองหลายครั้ง
- ถูกศัตรูรุกราน
- ได้รับภัยธรรมชาติ
- ทำเลที่ตั้งไม่เหมาะสม
- ต้องการหาทางออกทะเลเพื่อค้าขาย
- จากหลักฐานที่พบ ชุมชนใดน่าจะเป็นแหล่งเริ่มต้นของพัฒนาการการตั้งถิ่นฐานในบริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
- พิมาย จังหวัดนครราชสีมา
- บ้านเชียง จังหวัดอุดรธานี
- ฟ้าแดดสงยาง จังหวัดกาฬสินธุ์
- หนองหารหลวง จังหวัดสกลนคร
- มรดกที่สังคมไทยได้รับจากนครศรีธรรมราชคือข้อใด
- การเขียนอักษรไทย
- การนับถือพระโพธิสัตว์
- การสร้างเจดีย์ทรงพุ่มข้าวบิณฑ์
- การนับถือพระพุทธศาสนานิกายเถรวาทลัทธิ
ลังกาวงศ์
- ปราสาทหินของขอม สันนิษฐานว่าสร้างขึ้นเพื่อจุดประสงค์ใด
- เป็นที่ประกอบศาสนพิธี
- เป็นแหล่งท่องเที่ยวพักผ่อน
- เป็นศูนย์กลางการปกครอง
- ที่ประทับของพระมหากษัตริย์
- เหตุผลสำคัญที่ทำให้พระยามังรายมหาราชทรงสร้างราชธานีที่เชียงใหม่ น่าจะเป็นเพราะอะไร
- มีธรรมชาติที่สวยงาม
- ป้องกันการรุกรานจากทางใต้
- จะได้ดูแลอาณาจักรอย่างทั่วถึง
- ต้องการให้เป็นเมืองท่าค้าขาย
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น